360smartmaps.com

360smartmaps.com

ความหมายและประเภทของข้อมูลและสารสนเทศ ข้อมูล(Data) คือ สิ่งต่าง ๆ หรือข้อเท็จจริง ที่ได้รับจากประสาทสัมผัสหรือสื่อต่าง ๆที่ยังไม่ผ่านการวิเคราะห์ หรือการประมวลผล โดยข้อมูลอาจเป็นตัวเลข สัญลักษณ์ ตัวอักษร เสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น ข้อมูลดิบ (Raw Data) คือ ข้อมูลทุกรูปแบบที่ยังไม่ได้ผ่านการประมวลผล การแบ่งประเภทของข้อมูลขึ้นอยู่กับ - ความต้องการของผู้ใช้ - ลักษณะของข้อมูลที่นำไปใช้ - เกณฑ์ที่นำมาพิจารณา ในหน่วยการเรียนนี้จะยกตัวอย่างการแบ่งข้อมูลไว้ 4 รูปแบบ ดังนี้ 1. การแบ่งข้อมูลตามลักษณะของข้อมูล เป็นการแบ่งข้อมูลโดยพิจารณาจากการรับข้อมูลของประสาทสัมผัสของร่างกาย ได้แก่ - ข้อมูลภาพที่ได้รับจากการมองเห็นด้วยดวงตา - ข้อมูลเสียงที่ได้รับจากการฟังด้วยหู - ข้อมูลกลิ่นที่ได้รับจากการสูดดมด้วยจมูก - ข้อมูลรสชาติที่ได้รับจากการรับรสชาติด้วยลิ้น - ข้อมูลสัมผัสที่ได้รับจากความรู้สึกด้วยผิวหนัง 2.

ประเภทของระบบสารสนเทศ ประกอบด้วยกี่ส่วนสําคัญ

00 เพื่อนำไปใช้จัดกลุ่มการสอนเสริม 3. 3. ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS: Decision Support System) เป็นการรวบรวมข้อมูลจากทั้งภายในและภายนอกองค์กรเพื่อนำมาประมวลผลให้ได้สารสนเทศที่ช่วยผู้บริหารระดับสูงตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ เช่น การตัดสินใจเรื่องการคิดโปรโมชันของสินค้าและการตัดสินใจสร้างโรงงานผลิตแห่งใหม่ ระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจจะสร้างทางเลือกต่างๆ ให้ผู้บริหารตัดสินใจ โดยจะต้องมีความยืดหยุ่นสูง กล่าวคือ ผู้บริหารสามารถปรับเปลี่ยนค่าต่างๆ เองได้ และต้องตอบสนองการตัดสินใจได้อย่างรวดเร็ว 4. 4. ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูง (EIS: Executive Information System) เป็นระบบสารสนเทศที่ช่วยสนับสนุนการวิเคราะห์ปัญหา ศึกษาแนวโน้มในเรื่องที่สนใจ ส่วนใหญ่จะนำเสนอสารสนเทศในรูปแบบรายงาน ตาราง กราฟ เพื่อสรุปสารสนเทศให้ผู้บริหารเข้าใจง่าย และประหยัดเวลา ข้อมูลที่ใช้มาจากทั้งภายในและภายนอกขององค์กร ตัวอย่างเช่น กราฟแสดงสภาวะทางเศรษฐกิจและกราฟเปรียบเทียบยอดขายกับบริษัทคู่แข่ง s 5. 5. ปัญญาประดิษฐ์หรือระบบผู้เชี่ยวชาญ (Artificial Intelligence/Expert System: AI/ES) หมายถึง ระบบที่ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์กลายเป็นผู้ชำนาญการในสาขาใดสาขาหนึ่ง คอมพิวเตอร์ สามารถวิเคราะห์เหตุผลเพื่อตัดสินใจ ระบบคอมพิวเตอร์นี้ประกอบด้วย ฐานความรู้ (Knowledge Base) และกฎข้อวินิจฉัย (Inference Rule) ซึ่งเป็นความ สามารถเฉพาะที่ทำให้ระบบคอมพิวเตอร์สามารถตัดสินใจได้เอง

1. ระบบการประมวลผลทางธุรกิจ (Transaction Processing System: TPS) ระบบการประมวลผล เป็นการประมวลผลแบบวันต่อวัน เช่น การรับ-จ่ายบิล ระบบควบคุมสินค้าคงคลัง ระบบการรับ-จ่าย สินค้า เป็นต้น ใช้งานในระดับ ผู้ปฏิบัติการ ระบบนี้ เป็นระบบสารสนเทศลำดับแรกที่ได้รับการพัฒนาให้ใช้กับ เครื่องคอมพิวเตอร์ ลักษณะเด่นของ TPS: ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน สิ่งที่ องค์กรจะได้รับเมื่อใช้ระบบนี้ คือ ลดจำนวนพนักงาน องค์กรจะมีการบริการ ที่สะดวกรวดเร็ว ลูกค้ามีจำนวนเพิ่มมากขึ้น 2.

สารสนเทศ: ประเภทของระบบสารสนเทศ

ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing Systems:TPS) 2. ระบบประมวลผลรายการ หมายถึง ระบบสารสนเทศที่ใช้ในการเปลี่ยนข้อมูลดิบจากการปฏิบัติงานให้อยู่ในรูปแบบที่เครื่องจักรสามารถอ่านได้ระบบประมวลผลรายการสามารถแบ่งตามวิธีการประมวลผลข้อมูล ได้แก่ 1 ระบบการประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch Processing System) 2 ระบบการประมวลผลแบบออนไลน์ (Online Processing System) รายการถูกประมวลผลเมื่อเกิดรายการนั้นขึ้น แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ2. 1 การประมวลผลเชิงรายการ (Transactional Processing)2. 2 การประมวลผลแบบทันที (Real-time Processing) 2. ระบบสารสนเทศแบบประมวลรายการ (Transaction Processing Systems -TPS) เป็นระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับการบันทึกและประมวลข้อมูลที่เกิดจากธุรกรรมหรือการปฏิบัติงานประจำหรืองานขั้นพื้นฐานขององค์การ เช่น การซื้อขายสินค้า การบันทึกจำนวนวัสดุคงคลัง วัตถุประสงค์ของ TPS1) มุ่งจัดหาสารสนเทศทั้งหมดที่หน่วยงานต้องการตามนโยบายของหน่วยงานหรือตามกฎหมาย เพื่อช่วยในการปฏิบัติงาน 2. 2. 1)มุ่งจัดหาสารสนเทศทั้งหมดที่หน่วยงานต้องการตามนโยบายของหน่วยงานหรือตามกฎหมาย เพื่อช่วยในการปฏิบัติงาน 2. 3. 2) เพื่อเอื้ออำนวยต่อการปฏิบัติงานประจำให้มีความรวดเร็ว 2.

ประเภทของระบบสารสนเทศ | MindMeister Mind Map

  1. เกาะ พยาม pantip 2558
  2. MIS: ระบบสารสนเทศ 6 ชนิด
  3. ประเภทของระบบสารสนเทศ มีอะไรบ้าง
  4. 3 ETF หุ้นบุริมสิทธิสำหรับเงินปันผลสูงและมีเสถียรภาพ
  5. Hpe 1920s ราคา
  6. 02-ข้อมูล:โรงเรียน:ครู:บุคลากร - ข้อมูลสารสนเทศโรงเรียน
  7. ประเภทของระบบสารสนเทศ
  8. รองเท้า ผ้าใบ polo ralph lauren

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 2. ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System) หรือ MIS คือระบบที่ให้สารสนเทศที่ผู้บริหารต้องการ เพื่อให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจะรวมทั้ง สารสนเทศภายในและภายนอก สารสนเทศที่เกี่ยวพันกับองค์กรทั้งในอดีตและปัจจุบัน รวมทั้งสิ่งที่คาดว่าจะเป็นในอนาคต นอกจากนี้ระบบเอ็มไอเอสจะต้อง ให้สารสนเทศ ในช่วงเวลาที่เป็นประโยชน์ เพื่อให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในการวางแผนการควบคุม และการปฏิบัติการขององค์กรได้อย่างถูกต้อง 2. ลักษณะของระบบเอ็มไอเอสที่ดี ระบบเอ็มไอเอส จะสนับสนุนการทำงานของระบบประมวลผลข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลรายวัน ระบบเอ็มไอเอส จะใช้ฐานข้อมูลที่ถูกรวมเข้าด้วยกัน และสนับสนุนการทำงานของฝ่ายต่าง ๆ ในองค์กร ระบบเอ็มไอเอส จะช่วยให้ผู้บริหารระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง เรียกใช้ข้อมูลที่เป็นโครงสร้างได้ตามเวลาที่ต้องการ ระบบเอ็มไอเอส จะมีความยืดหยุ่นและสามารถรองรับความต้องการข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงไปขององค์กร ระบบเอ็มไอเอส ต้องมีระบบรักษาความลับของข้อมูล และจำกัดการใช้งานของบุคลเฉพาะผู้ที่เกี่ยวข้องเท่านั้น 3. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ 3. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System) เป็นระบบย่อยหนึ่งในระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ โดยที่ระบบสนับสนุนการตัดสินใจจะช่วยผู้บริหารในเรื่องการตัดสินใจในเหตุการณ์หรือกิจกรรมทางธุรกิจที่ไม่มีโครงสร้างแน่นอน หรือกึ่งโครงสร้าง ระบบสนับสนุนการตัดสินใจอาจจะใช้กับบุคคลเดียวหรือช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเป็นกลุ่ม นอกจากนั้น ยังมีระบบสนับสนุนผู้บริหารเพื่อช่วยผู้บริหารในการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ 4.