360smartmaps.com

360smartmaps.com

คำวิเศษณ์บอกลักษณะ "น้องคนเล็กชื่อเล็ก" "ถาดใบใหญ่ใส่ส้มผลเล็ก" 2. คำวิเศษณ์บอกเวลา "เขามาสายทุกวัน" "ไปเดี๋ยวนี้" 3. คำวิเศษณ์บอกสถานที่ "เขาเดินไกลออกไป" "เธอย้ายบ้านไปอยู่ทางเหนือ" 4. คำวิเศษณ์บอกปริมาณหรือจำนวน "ชนทั้งผอง พี่น้องกัน" "คนอ้วนมักกินจุ" 5. คำวิเศษณ์บอกความชี้เฉพาะ "อย่าพูดเช่นนั้นเลย" "บ้านนั้นทาสีสวย" 6. คำวิเศษณ์บอกความไม่ชี้เฉพาะ "คนอื่นไปกันหมดแล้ว" "สิ่งใดก็ไม่สำคัญเท่าความสามัคคี" 7. คำวิเศษณ์แสดงคำถาม "ประเทศอะไรมีจำนวนประชากรมากที่สุดในโลก" "น้องเธออายุเท่าไร" 8. คำวิเศษณ์แสดงคำขาน "หวานจ๋าไปเที่ยวไหมจ๊ะ" "คุณครูคะ กรุณาอธิบายช้าๆ หน่อยเถอะค่ะ" 9.

  1. ภาษาไทย ป.3 ตอนที่ 2 ชนิดของคำ - Yes iStyle - YouTube
  2. แบบทดสอบชนิดของคำไทยตามแนวคิดใหม่ - GotoKnow
  3. DLTV มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
  4. ชนิด ของ คํา ป 3 — บทที่ 3 ชนิดของคำ - Phakhawan &Amp; Krunuch
  5. Download
  6. แบบทดสอบหลังเรียน - ชนิดของคำในภาษาไทย

ภาษาไทย ป.3 ตอนที่ 2 ชนิดของคำ - Yes iStyle - YouTube

คำและชนิดของคำในภาษาไทย - Thai-subject-banphai ชนิดของคํา ป. 4 ชนิด ของ คํา นาม ป 3 ทบทวนคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา - สื่อการเรียนการสอน ภาษาไทย ป. 3 - YouTube ๒ กาลวิเศษณ์ คือ คำที่ใช้ประกอบคำอื่นเพื่อบอกเวลา ประกอบได้ทั้งนาม สรรพนาม และกริยา ได้แก่ เดี๋ยวนี้ เช้า เย็นช้า นาน โบราณ ปัจจุบัน ฯลฯ ๔. ๓ สถานวิเศษณ์ คือ คำที่ใช้ประกอบคำอื่นเพื่อบอกสถานที่ ประกอบทั้งนาม สรรพนาม กริยา ได้แก่ ใกล้ ไกล ห่าง ชิด ใต้ เหนือ ล่าง บน ฯลฯ ๔. ๔ ประมาณวิเศษณ์ คือ คำที่ใช้ประกอบคำอื่นเพื่อบอกจำนวน แบ่งออกเป็น ๔ ชนิด คือ ๑) บอกจำนวนจำกัด ได้แก่คำว่า หมด สิ้น ทั้งหมด ทั้งปวง บรรดา ทั้งผอง ๒) บอกจำนวนไม่จำกัด ได้แก่ มาก น้อย จุ หลาย ๆ ฯลฯ ๓) บอกจำนวนแบ่งแยก ได้แก่ บาง บ้าง ต่าง สิ่งละ คนละ ฯลฯ ๔) บอกจำนวนนับ แบ่งเป็น ๒ ชนิด คือ บอกจำนวนเลข เช่น หนึ่ง สอง กับบอก จำนวนที่ เช่น ที่หนึ่ง ที่สอง ๔. ๕ ปฤจฉาวิเศษณ์ คือ คำที่ใช้ประกอบคำอื่น เป็นคำถาม ได้แก่ ใด อะไร ทำไม ไหน เท่าไร เช่น คนไหนเรียนเก่ง เธอมากี่คน ๔. ๖ นิยมวิเศษณ์ คือ คำที่ใช้ประกอบคำอื่น เพื่อบอกความแน่นอน ความชัดเจน เช่น นี้ นั้น แท้ แบ่งเป็น ๒ ชนิด ๑) บอกความแน่นอนในความหมาย เช่น ฉันเอง ไปแน่ สวยแท้ ดีทีเดียว ๒) บอกความแน่นอนของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น คนนั้น ที่นั้น ที่นี่ ๔.

4. คำนามบอกหมวดหมู่(สมุหนาม) คือ คำนามที่บอกหมวดหมู่ของนามข้างหลังที่รวมกันมากๆ เช่น โขลงช้าง ฝูงนก ฝูงปลา คณะครูอาจารย์ คณะนักเรียน คณะสงฆ์ พวกกรรมกร หมู่สัตว์ หมวดศัพท์ ชุดข้อสอบ โรงหนัง แบบทรงผม 5. คำนามบอกอาการ(อาการนาม) คือ คำนามที่เกิดจากคำกริยาหรือคำวิเศษณ์ที่มีคำว่า"การ"หรือ"ความ"นำหน้า เช่น ความดี ความชั่ว ความรัก ความสวย ความงาม ความจริง ความเร็ว การเกิด การตาย การเรียน การงาน การวิ่ง การศึกษา คำสรรพนาม คำสรรพนาม คือ คำที่ใช้แทนคำนามเพื่อไม่ต้องกล่าวคำนามนั้นซ้ำๆ แบ่งเป็น 7 ชนิด คือ 1. สรรพนามแทนผู้พูด ผู้ฟัง และผู้ที่กล่าวถึง(บุรุษสรรพนาม) ได้แก่ สรรพนามบุรุษที่ 1 แทนชื่อผู้พูด เช่น ฉัน ดิฉัน อิฉัน ผม กระผม ข้าพเจ้า เรา อาตมา เกล้ากระผม เกล้ากระหม่อม ฯลฯ สรรพนามบุรุษที่ 2 แทนชื่อผู้ฟัง เช่น คุณ เธอ ท่าน เจ้า แก โยม พระคุณเจ้า ฝ่าพระบาท ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท ฯลฯ สรรพนามบุรุษที่ 3 แทนชื่อผู้กล่าวถึง เช่น มัน เขา ท่าน เธอ แก พระองค์ท่าน ฯลฯ 2. สรรพนามชี้เฉพาะ(นิยมสรรพนาม) สรรพนามชนิดนี้ใช้แทนนามที่อยู่ใกล้หรือไกลผู้พูด ได้แก่ นี่ นั่น โน่น นี้ นั้น โน้น เช่น "นี่บ้านกำนัน" "นี่ของใคร" "นั่นมหาวิทยาลัย" "นั่นนักร้องยอดนิยม" "โน่นโรงเรียน" "โน่นไงบ้านของฉัน" "ห้ามนั่งตรงนั้นนะ" 3.

  • ฟิล์ม เอกซเรย์ ปอด ปกติ ปรกติ
  • เย ด โหด ๆ
  • บทที่ 3 ชนิดของคำ - Phakhawan & KruNuch
  • แบบทดสอบหลังเรียน - ชนิดของคำในภาษาไทย